ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี

ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี

บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ.
บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
คำแปล บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ
บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ
อิติปิ โส ภะคะวา ( เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ) อะระหัง ( เป็นผู้ไกลจากกิเลส ) สัมมาสัมพุทโธ ( เป็นผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง ) วิชชาจะระณะสัมปันโน ( เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ) สุคะโต ( เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี ) โลกะวิทู ( เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ) อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ ( เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า ) สัตถา เทวะมนุสสานัง ( เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ) พุทโธ ( เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ) ภะคะวาติ. ( เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้ )
บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ( พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว ) สันทิฏฐิโก ( เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง ) อะกาลิโก ( เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล ) เอหิปัสสิโก ( เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด ) โอปะนะยิโก ( เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว ) ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. ( เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ )
บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว ) อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว ) ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว ) สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว ) ยะทิทัง ( ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ ) จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา ( คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ ) เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ( นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ) อาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา ) ปาหุเนยโย ( เป็นผู้ควรแก่สักการะที่จัดไว้ต้อนรับ ) ทักขิเณยโย ( เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน ) อัญชะลีกะระณีโย ( เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี ) อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. ( เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้ )
ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี เป็นตะกรุดอีก 1ชิ้น ของพระอาจารย์นะดีที่ท่านจารออกมาได้อย่างสวยงาม ดังคำกล่าวที่ว่า "งามล่ำด้วยพุทธศิลป์ เปี่ยมล้นด้วยพุทธคุณ" เชื่อกันว่าผู้ใดมีใว้ในครอบครอง ไม่ว่าเกิดเหตุอะไรจะแคล้วคลาดปลอดภัย


ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี
ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี
ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี
ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี



:: ทีมงานกัลยาณมิตร


ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี ตะกรุดพระพุทธเจ้าเหนือพระอาจารย์นะดี Reviewed by Unknown on 4/30/2561 Rating: 5

ไม่มีความคิดเห็น:

ตอนที่ 2 : หนุมานปราบศึก เสก 7 เสาร์ 9 อังคาร

ตอนที่ 2 : หนุมานปราบศึก เสก 7 เสาร์ 9 อังคาร . ในตอนที่ 1  # ทีมงานกัลยาณมิตร  ได้เขียนถึง อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ และลักษณะเฉพาะตัวของหนุม...

ขับเคลื่อนโดย Blogger.